ชื่อโครงงาน Life on
the road
กลุ่มที่ 6
ปัญหาการจราจรติดขัด
นางสาวทัตพร แก้วนิ่ม เลขที่ 16 (เขียนบท)
นางสาวพิชญาภรณ์ แก้วสามสี เลขที่ 19 (ถ่ายทำ)
นางสาวกิ่งกาญจน์ เชาวนานันท์ เลขที่ 27 (ตัดต่อ)
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/13
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/13
วิธีดำเนินการ
1.ปรึกษากันภายในกลุ่ม เพื่อออกแบบเค้าโครงเรื่อง
2.หาข้อมูลเกี่ยวกับโปรแกรมที่ใช้ในการทำสารคดี
3.ศึกษาวิธีการใช้โปรแกรมนั้นๆ
4.แบ่งหน้าที่กันภายในกลุ่ม
ตามความถนัดของแต่ละบุคคล
ผลการดำเนินการ (สรุปความรู้ที่ได้)
การใช้งานโปรแกรม Movie
Maker เพื่อสร้างงานวีดีโอ
Movie Maker เป็นโปรแกรมใช้งานที่ติดมากับเครื่องคอมพิวเตอร์ (ส่วนใหญ่)
มีหน้าที่ทำงาน สร้างวีดีโอภาพเคลื่อไหว ถือเป็นโปรแกรมที่ใช้งานไม่ยุ่งยาก
ประโยชน์ใช้สอยนั้นเหมาะไปในทางการนำเสนอภาพ เรื่องราว
แบบมีลูกเล่นซึ่งทำให้ชิ้นงานไม่น่าเบื่อ ด้วยการหาภาพสวยๆ เพลงดีดี มาอัดใส่ประกอบกันให้เป็นเรื่องราว
1.จากหน้าจอ Desktop คลิกที่ start (ด้านมุมซ้ายล่างขอหน้าจอ)เลือก All
Programs มองหาโปรแกรม Windows Movie Maker จากนั้นให้คลิกที่ชื่อโปรแกรม จะปรากฏหน้าจอโปรแกรมWindows Movie
Maker เพื่อใช้เริ่มการทำงาน
2.ดึงไฟล์รูปภาพ ไฟล์เสียง ของเราที่ต้องการนำมาทำชิ้นงาน
วางไว้ในส่วนพื้นที่ collectionตามจำนวนที่ต้องการ
3.เลือกภาพเรียงตามลำดับความต้องการมาจัดวางใน drag
media to the show timeline to begin… จากนั้นให้ใส่ลูกเล่น
ทั้งที่เป็น effects และ transitions โดยไปที่
4.เมนู edit movie จากนั้นให้เลือกใส่ลูกเล่นได้ตามต้องการ
5.เมื่อตกแต่งชิ้นงานรูปภาพของท่าน
เรียบร้อยแล้วให้
6.เพิ่ม credit (make
titles or credits) บริเวณส่วนต่างๆของรูปภาพ ได้แก่ ส่วนหน้าสุดของภาพชิ้นงาน, ส่วนระหว่างภาพ, ส่วนในรูปภาพ และส่วนจบชิ้นงานรูปภาพ ซึ่งต้องคำนึงให้ข้อความ
กับรูปภาพเนื้อหาสอดคล้องกันเราสามารถเลือกใส่ credit ได้ ตามความพอใจ หรือไม่ใส่ส่วนใดก็ได้
7.เพิ่มเสียงประกอบ(เพลง) โดยให้กลับไปที่
เมนู edit movie เลือก Show
collection (หน้าหลักที่มีไฟล์รูปภาพ ไฟล์เสียง ของเราอยู่)
จากนั้นดึงเสียงเพลงที่ต้องการมาจัดวางที่ส่วนการสร้างชิ้นงาน (ส่วน show
storyboard)
8.ปรับระดับความยาวของภาพ
หรือเสียงเพลงให้เหมาสมกัน สามารถใช้วิธีการ ตัดทอนเพลงให้สั้นลง
โดยคลิกที่ไฟล์เพลงค้างไว้ จากนั้นกดลากเมาส์ที่เนื้อเพลง(หดเข้า-ขยายออก) ตามต้องการ หรือ หรือ
ขยายไฟล์ภาพให้ขยายกว้างขึ้น ให้พอเหมาะกับเพลงประกอบ
โดยคลิกที่ไฟล์ภาพแล้วกดเมาท์ค้างไว้ จากนั้นลากรูปภาพที่ต้อง(หดเข้า-ขยายออก) ตามต้องการ
9.เมื่อได้ชิ้นงานดังใจหวังแล้ว ให้ Save ชิ้นงานเป็น 2 ลักษณะ คือ save
project กับ save project movie ดังนี้
*9.1 ไปที่ file เลือก save project (เก็บเพื่อสามารถนำกลับมาแก้ไขได้ใหม่)ชิ้นงานไว้ที่ My
video หรือ เก็บใน USB
*9.2 ไปที่ file เลือก save project movie (ชิ้นงานสามารถนำไปใช้ได้เลย)
**การลบรูปภาพ หรือ เพลงประกอบ
ที่ไม่ต้องการในชิ้นงานนำเสนอ ให้เลื่อนเมาท์วางที่รูปภาพที่จะลบออก
แล้วคลิกขวาที่เมาท์ เลือกDele… หรือ cut
**การลบ effects ที่ไม่ต้องการในชิ้นงานนำเสนอ ให้เลื่อนเมาท์วางที่เครื่องหมายรูปดาว(สัญลักษณะแทนeffects )ที่ปรากฏอยู่ในภาพ แล้วคลิกขวาที่เมาท์ เลือกDele… หรือ cut สีของดาวจะเปลี่ยนจากสีฟ้าเป็นสีเทา แสดงว่าeffects ที่ใส่ไว้ถูกลบทิ้งแล้ว เริ่มทำการเลือก effects อื่นใส่ใหม่ได้
**การลบ effects ที่ไม่ต้องการในชิ้นงานนำเสนอ ให้เลื่อนเมาท์วางที่เครื่องหมายรูปดาว(สัญลักษณะแทนeffects )ที่ปรากฏอยู่ในภาพ แล้วคลิกขวาที่เมาท์ เลือกDele… หรือ cut สีของดาวจะเปลี่ยนจากสีฟ้าเป็นสีเทา แสดงว่าeffects ที่ใส่ไว้ถูกลบทิ้งแล้ว เริ่มทำการเลือก effects อื่นใส่ใหม่ได้
การใช้งานเบื้องต้น
ก่อนเริ่มต้นตัดต่อเราควรรู้จัก คีย์ลัดที่ใช้บ่อยๆกันในคีย์บอร์ด
· ปุ่ม Space bar ใช้สำหรับ Play/ Stop หรือการเล่นการหยุด งานในtimeline
· ปุ่ม S สำหรับตัด clipให้เป็นท่อนๆ
· ปุ่ม M สำหรับ การมาร์คจุด
· Ctrl+c,Ctrl+v ,Ctrl+x การก๊อปปี้ การวาง หรือการย้าย เหมือนกับ วินโดว์เลยครับ ตัวเลือนตรงกลางของเมาส์ สำหรับยึด หด คลิป การนำงานเข้าสู่ Timeline ก็คือ คลิ๊กลากแล้ววาง หรือ คลิ๊กเมนูFile–>Import media หน้าต่างที่จะแนะนำต่อไปนี้คือหน้าต่าง Exploror มีความสำคัญคือทำหน้าที่ ค้นหา และสามารถนำเข้าสู่ Timeline ได้โดยลากแล้ววาง
ก่อนเริ่มต้นตัดต่อเราควรรู้จัก คีย์ลัดที่ใช้บ่อยๆกันในคีย์บอร์ด
· ปุ่ม Space bar ใช้สำหรับ Play/ Stop หรือการเล่นการหยุด งานในtimeline
· ปุ่ม S สำหรับตัด clipให้เป็นท่อนๆ
· ปุ่ม M สำหรับ การมาร์คจุด
· Ctrl+c,Ctrl+v ,Ctrl+x การก๊อปปี้ การวาง หรือการย้าย เหมือนกับ วินโดว์เลยครับ ตัวเลือนตรงกลางของเมาส์ สำหรับยึด หด คลิป การนำงานเข้าสู่ Timeline ก็คือ คลิ๊กลากแล้ววาง หรือ คลิ๊กเมนูFile–>Import media หน้าต่างที่จะแนะนำต่อไปนี้คือหน้าต่าง Exploror มีความสำคัญคือทำหน้าที่ ค้นหา และสามารถนำเข้าสู่ Timeline ได้โดยลากแล้ววาง
การใช้งาน Transition
Transition คือ
การเปลี่ยนฉากเข้าหรือออกฉาก เช่น การทำพรีเซนท์ ในพาวเวอร์พอยท์ในการเปลี่ยนหน้า
หรือเข้าสู่เรื่องใหม่ เราก็จะทำ Transition มาใช้ในการเปลี่ยนเพื่อมิให้ผู้รับชมเกิดอาการเบื่อหน่าย
และทำให้งานของเราดูน่าสนใจยิ่งขึ้น การนำTransition มาใช้ทำได้ดังนี้
1. คลิกแถบ Transitions เลือกรูปแบบของTransition ทางซ้ายมือ
ส่วนทางขวามือจะเป็นการแสดงผลของ Transition จากนั้นให้คลิกลาก Transition ในช่องขวามือไปจ่อที่ขอบของคลิปจนเกิดเครื่องหมายบวกขึ้น จึงปล่อย
จะปรากฏหน้าต่างใหม่ขึ้นมาให้รับแก้ไข Transition ได้ดังภาพ
การใช้งาน Video
FX
การใช้ Video Fx คือ การใส่เอฟเฟคให้กับวีดีโอ เช่น การทำให้คลิปของเรากลายเป็น ภาพเก่า
หรือ การทำขอบเบลอ เป็นต้น การใช้วีดีโอเอฟเอ็กในวีกัส สามารถทำได้ โดยคลิ๊กลากFX นั้น ไปลงที่คลิป ที่เราต้องการดังภาพ
การใช้งาน Media
Generators
แถบ Media Generator คือ แถบเครื่องมือสำหรับสร้าง ตัวอักษร เครดิต โรล แบ๊กกราว Animation ต่างๆ โดยโปรแกรม Sony Vegas ได้รวบรวมไว้เป็นหมวดๆซึ่งง่ายและสะดวกต่อการใช้งาน
1. แถบ Checkerboard สำหรับทำพื้นแบ๊กกราวแบบลายหมากรุกPattern ต่างๆมากมาย ซึ่งสามารถใช้งานได้โดยการ ลากแล้ววางบน Time
line
2. แถบ Color Gradient หรือ การไล่เฉดสี
สามารถนำมาทำAnimation ได้โดยใช้ key frameเป็นตัวกำหนด การเคลื่อนไหว
3. แถบ Credit Roll สำหรับสร้าง
เครดิตโรลรูปแบบต่างๆ วิธีใช้ โดยลากแล้ว วางบนTimeline สามารถเปลี่ยนตัวอักษรได้ตามต้องการ
4. แถบ Noise Texture สำหรับทำภาพเคลื่อนไหว Animation เช่น ท้องฟ้า เปลวไฟ ลาวาต่างๆ โดยใช้ ตัว Key frame เป็นตัวกำหนดสร้าง Animetion
5.
Solid Color เป็นแถบสีแบบสีเดียวล้วนๆ ใช้ทำแบ๊กกราว
หรือพื้นหลังภาพ ทำแถบพื้นหลังตัวอักษรให้สวยงาม ส่วนใหญ่ใช้ทำแบ๊ก กราวสำหรับภาพ
ที่มีพื้นแบบโปร่งใส
6. แถบ Test Pattern เป็น Pattern สำหรับหัวม้วนวีดีโอ คล้ายๆกับตัวนับถอยหลัง
7. แถบ Text สำหรับสร้างตัวอักษร
เอฟเฟคตัวอักษร เป็นแถบที่ใช้ง่ายบ่อย
แหล่งเรียนรู้
http://www.snc.lib.su.ac.th/snclibblog/?p=14832
https://moba555.wordpress.com/ขั้นต้นของการใช้โปรแกร/การใช้งานเบื้องต้น/
หลักฐานประกอบ